วันอังคารที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2559

แนวข้อสอบ



แนวข้อสอบกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ  ทุกตำแหน่ง  ใหม่ล่าสุด
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ ประกอบด้วย
- ความรู้เกี่ยวกับกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
- แนวข้อสอบอำนาจหน้าที่และภารกิจของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
- การจัดการความขัดแย้งโดยการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทชุมชน
- ระเบียบกระทรวงยุติธรรม ว่าด้วยเครือข่ายและอาสาสมัครคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ 
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเสริมสร้างความสมานฉันท์แห่งชาติ
- ระเบียบสำนักนายกว่าด้วยการจัดการร้องทุกข์ 2552
- สรุปสาระสำคัญ พรบ.ค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลย
- สรุปสาระสำคัญพระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546

- สาระสำคัญของพระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ 2553

แนวข้อสอบ ผู้ช่วยปฎิบัติงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
2 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
3 การจัดการความขัดแย้งโดยการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทชุมชน
4 แนวข้อสอบอำนาจหน้าที่และภารกิจของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
5 มาตรฐานด้านการบริหารจัดการ ด้าน ICT
6 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
7 ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
8 แนวข้อสอบความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
9 เทคนิคการสอบสัมภาษณ์
10 แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์  ชุด 2
11 แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์  ชุด 1

แนวข้อสอบ ผู้ช่วยปฎิบัติงานด้านสิทธิมนุษยชน กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
2 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
3 การจัดการความขัดแย้งโดยการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทชุมชน
4 แนวข้อสอบอำนาจหน้าที่และภารกิจของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
5 ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
6 คำศัพท์อังกฤษด้านสิทธิมนุษยชน
7 ระเบียบกระทรวงยุติธรรม ว่าด้วยเครือข่ายและอาสาสมัครคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ พ.ศ. 2548
8 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเสริมสร้างความสมานฉันท์แห่งชาติ พ.ศ. 2550
9 แนวข้อสอบความเข้าใจด้านสิทธิมนุษยชน
10 เทคนิคการสอบสัมภาษณ์

**อ่านเข้าใจง่าย เข้าใจเร็ว ครบ ตรงประเด็น อัดแน่นด้วยคุณภาพ
รวมข้อสอบเก่าเด็ดๆ และข้อสอบที่ออกบ่อยๆ รวบรวมข้อสอบจากรุ่นพี่ที่สอบได้  จากสนามจริง**



สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 090-8134236     Line :topsheet1
-แบบไฟล์ PDF (ส่งทางเมลล์)สามารถนำไปปริ้นอ่านได้เลย ในราคาเพียงชุดละ 399 บาท 
-แบบหนังสือ+MP3 ส่งEMS (ทางไปรษณีย์) เป็นหนังสือ ราคา 799 บาท 

-แบบใช้ฟังผ่านอินเตอร์เน็ตผ่าน IPad IPhone มือถือ รถยนต์  ราคา 299 บาท
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 
619-2-17391-2 ธ.กสิกรไทย 
สาขา บิ๊กซี พระรามที่ 2 ประเภท ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี กฤษฎาพร เหมวันต์      

โอนเงินแล้วแจ้งที่ 

Line ID : topsheet1
E-mail :topsheet1@gmail.com


จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบปล



ตัวอย่างข้อสอบ
แนวข้อสอบ อำนาจหน้าที่และภารกิจของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
และสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐
1. เมื่อวันใดได้มีการประกาศบังคับใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพ.ศ. ๒๕๕๐
ก. วันที่ ๒๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
ข. วันที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
ค. วันที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
ง. วันที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
ตอบ ข. วันที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติตามรัฐธรรมนูญ๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐มีการประกาศใช้บังคับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้บัญญัติเกี่ยวกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติไว้ในมาตรา ๒๕๖ มาตรา ๒๕๗
2. รัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ ได้แบ่งองค์กรตามรัฐธรรมนูญออกเป็นกี่ประเภท
ก. แปดประเภท
ข. หกประเภท
ค. สี่ประเภท
ง. สองประเภท
ตอบ ง. สองประเภท
รัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ ได้แบ่งองค์กรตามรัฐธรรมนูญเป็น ๒ ประเภท ดังนี้
๑. องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ มี ๔ องค์กร ดังนี้
๑.๑ คณะกรรมการการเลือกตั้ง
๑.๒ ผู้ตรวจการแผ่นดิน
๑.๓ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
๑.๔ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
๒. องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ มี ๓ องค์กร ดังนี้
๒.๑ องค์กรอัยการ
๒.๒ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
๒.๓ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
รัฐธรรมนูญ ๒๕๔๐ มิได้กำหนดไว้อย่างชัดเจน
3. องค์กรใดต่อไปนี้คือองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
ก. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
ข. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
ค. คณะกรรมการการเลือกตั้ง
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
ดูคำอธิบายข้อข้างต้น
4. องค์กรใดต่อไปนี้คือองค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ
ก. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ข. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
ค. คณะกรรมการการเลือกตั้ง
ง. คณะกรรมการส่วนราชการ
ตอบ ก. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ดูคำอธิบายข้อข้างต้น
5. ผู้ใดต่อสู้หรือขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการต้องระวางโทษตามข้อใด
ก. ปรับไม่เกินสามหมื่นบาท
ข. ปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท
ค. จำคุกไม่เกินหนึ่งปี
ง. จำคุกไม่เกินสองปี
ตอบ ค. จำคุกไม่เกินหนึ่งปี
มาตรา ๓๕ ผู้ใดต่อสู้หรือขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา๓๒ (๒) ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
6. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ มีชื่อย่อว่าอย่งไร
ก. คกช.
ข. กสม.
ค. กมช.
ง. คกม.
ตอบ ข. กสม.
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ มีชื่อย่อว่า กสม.
7. จากเดิมคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีจำนวนคณะกรรมการทั้งหมด๑๑ คน ปัจจุบันได้มีการปรับให้เหลือเพียงเท่าใด
ก. ห้าคน
ข. เจ็ดคน
ค. เก้าคน
ง. สิบเอ็ดคน
ตอบ ข. เจ็ดคน
องค์ประกอบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ(กสม.)
กำหนดใคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีจำนวนลดลง จากเดิมที่มีรวมทั้งสิ้น ๑๑ คนให้เหลือเพียงเจ็ดคน ประกอบด้วยประธานกรรมการหนึ่งคน และกรรมการอื่นอีกหกคน
8. กระบวนการสรรหาและเลือกคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ(กสม.) ตามรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ แตกต่างจากรัฐธรรมนูญ ๒๕๔๐ ในขั้นตอนใด
ก. องค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหา
ข. วิธีการสรรหาและคัดเลือก
ค. จำนวนผู้ได้รับเลือกเพื่อเสนอชื่อให้วุฒิสภา
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
กระบวนการสรรหาและการเลือกคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ(กสม.) ตามรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ แตกต่างจากรัฐธรรมนูญ ๒๕๔๐ ทั้งในขั้นตอนของคณะกรรมการสรรหาคือองค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหา วิธีการสรรหาและคัดเลือก รวมทั้งจำนวนผู้ได้รับเลือกเพื่อเสนอชื่อให้วุฒิสภา และในขั้นตอนของวุฒิสภาจากเดิมที่ต้องมีมติเพื่อคัดเลือกผู้ได้รับการเสนอชื่อจากจำนวนยี่สิบสองคนให้เหลือสิบเอ็ดคน เป็นมีมติให้ความเห็นชอบผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อจากคณะกรรมการสรรหาจำนวนเจ็ดคน
9. บุคคลใดต่อไปนี้ที่สามารถเป็นคณะกรรมการสรรหากรรมการได้
ก. รองประธานศาลฎีกา
ข. รองประธานศาลปกครองสูงสุด
ค. อัยการสูงสุด
ง. ทนายความ
ตอบ ค. อัยการสูงสุด
คณะกรรมการสรรหากรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ มีจำนวนเจ็ดคน ประกอบด้วย
๑. ประธานศาลฎีกา
๒. ประธานศาลรัฐธรรมนูญ
๓. ประธานศาลปกครองสูงสุด
๔. ประธานสภาผู้แทนราษฎร
๕. ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
๖. บุคคลซึ่งที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาคัดเลือก จำนวนหนึ่งคน
๗. บุคคลซึ่งที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดคัดเลือก จำนวนหนึ่งคน
ทำหน้าที่สรรหาและคัดเลือกคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ(กสม.) จำนวนเจ็ดคน ด้วยมติที่มีการลงคะแนนโดยเปิดเผยและมีคะแนนไม่น้อยกว่าสองในสามของจำนวนกรรมการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ แล้วเสนอรายชื่อผู้ได้รับเลือกพร้อมความยินยอมของผู้นั้นต่อประธานวุฒิสภาเพื่อให้วุฒิสภามีมติให้ความเห็นชอบด้วยคะแนนเสียงข้างมากโดยวิธีลงคะแนนลับ
10. การพ้นจากตำแหน่งของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติคือข้อใด
ก. การลาออก
ข. ลาพักร้อนเกินกำหนด
ค. อายุครบเจ็ดสิบปีบริบูรณ์
ง. หยุดงานเกินสามวัน
ตอบ ค. อายุครบเจ็คสิบปีบริบูรณ์
การพ้นตำแหน่ง
นอกจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติจะพ้นจากตำแหน่งตามวาระและเหตุอื่นแล้ว รัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ได้กำหนดเพิ่มเติมให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติต้องพ้นจากตำแหน่งเมื่อมีอายุครบเจ็ดสิบปีบริบูรณ์ด้วย
****************************************************************************************************************************                                                                                                                                


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น