วันจันทร์ที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2559

คู่มือเตรียมสอบ








จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ  ทุกตำแหน่ง  ใหม่ล่าสุด
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ 

D ความรู้เกี่ยวกับกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
D แนวข้อสอบอำนาจหน้าที่และภารกิจของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
D การจัดการความขัดแย้งโดยการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทชุมชน
D ระเบียบกระทรวงยุติธรรม ว่าด้วยเครือข่ายและอาสาสมัครคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ 
D ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเสริมสร้างความสมานฉันท์แห่งชาติ
D ระเบียบสำนักนายกว่าด้วยการจัดการร้องทุกข์ 2552
D สรุปสาระสำคัญ พรบ.ค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลย
D สรุปสาระสำคัญพระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546
D สาระสำคัญของพระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ 2553


 (เลือกตามตำแหน่งที่สอบ)
1.ชื่อตำแหน่ง : นักวิชาการยุติธรรมปฏิบัติการ (ด้านสิทธิมนุษยชน)
2.ชื่อตำแหน่ง : นักวิชาการยุติธรรมปฏิบัติการ (ด้านภาษาอังกฤษ)
3.ชื่อตำแหน่ง : นักวิชาการยุติธรรมปฏิบัติการ (ด้านกฎหมาย)
4.นิติกร

**อ่านเข้าใจง่าย เข้าใจเร็ว ครบ ตรงประเด็น อัดแน่นด้วยคุณภาพ
รวมข้อสอบเก่าเด็ดๆ และข้อสอบที่ออกบ่อยๆ รวบรวมข้อสอบจากรุ่นพี่ที่สอบได้  จากสนามจริง**


สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร: 090-8134236   ,  Line :topsheet1
-แบบไฟล์ PDF (ส่งทางเมลล์)สามารถนำไปปริ้นอ่านได้เลย ในราคาเพียงชุดละ 399 บาท 
-แบบหนังสือ+MP3 ส่งEMS (ทางไปรษณีย์) เป็นหนังสือ ราคา 799 บาท 
-แบบใช้ฟังผ่านอินเตอร์เน็ตผ่าน IPad IPhone มือถือ รถยนต์  ราคา 299 บาท
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 619-2-17391-2 ธ.กสิกรไทย 
สาขา บิ๊กซี พระรามที่ 2 ประเภท ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี กฤษฎาพร เหมวันต์ 
     
โอนเงินแล้วแจ้งที่ 
Line ID : topsheet1
E-mail :topsheet1@gmail.com



จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบปล







วันอังคารที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2559

ผลงานลูกค้า

เปิดสอบ ราชการ งานราชการ หางาน สอบราชการ พนักงานราชการ สอบบรรจุ หางาน รับสมัครงาน สอบ กพ. อบต. สอบภาค ก สอบภาค ข รับสมัครงาน ศูนย์รวมงานราชการ
ศูนย์หนังสือสอบ sheetbook เป็นที่รวบรวมแนวข้อสอบรับราชการ ทุกหน่วยงาน และนี่คือผลงาน ความคิดเห็นของลูกค้าที่ซื้อข้อสอบจากเราไป บางส่วน


































ติดตาม Facebook

Youtube

แนวข้อสอบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ




รายละเอียดวิชาที่สอบ #
แนวข้อสอบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
1 ความรู้เกี่ยวกับ-สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน-แห่งชาติ
2 แนวข้อสอบการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำนักงาน
3 ความสามารถทางด้านการคิดคำนวณแนวข้อสอบ
4 วิชาสามารถทั่วไปความสามารถด้านภาษา
5 เทคนิคการสอบสัมภาษณ์




แนวข้อสอบ



แนวข้อสอบกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ  ทุกตำแหน่ง  ใหม่ล่าสุด
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ ประกอบด้วย
- ความรู้เกี่ยวกับกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
- แนวข้อสอบอำนาจหน้าที่และภารกิจของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
- การจัดการความขัดแย้งโดยการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทชุมชน
- ระเบียบกระทรวงยุติธรรม ว่าด้วยเครือข่ายและอาสาสมัครคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ 
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเสริมสร้างความสมานฉันท์แห่งชาติ
- ระเบียบสำนักนายกว่าด้วยการจัดการร้องทุกข์ 2552
- สรุปสาระสำคัญ พรบ.ค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลย
- สรุปสาระสำคัญพระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546

- สาระสำคัญของพระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ 2553

แนวข้อสอบ ผู้ช่วยปฎิบัติงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
2 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
3 การจัดการความขัดแย้งโดยการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทชุมชน
4 แนวข้อสอบอำนาจหน้าที่และภารกิจของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
5 มาตรฐานด้านการบริหารจัดการ ด้าน ICT
6 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
7 ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
8 แนวข้อสอบความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
9 เทคนิคการสอบสัมภาษณ์
10 แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์  ชุด 2
11 แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์  ชุด 1

แนวข้อสอบ ผู้ช่วยปฎิบัติงานด้านสิทธิมนุษยชน กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
2 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
3 การจัดการความขัดแย้งโดยการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทชุมชน
4 แนวข้อสอบอำนาจหน้าที่และภารกิจของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
5 ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
6 คำศัพท์อังกฤษด้านสิทธิมนุษยชน
7 ระเบียบกระทรวงยุติธรรม ว่าด้วยเครือข่ายและอาสาสมัครคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ พ.ศ. 2548
8 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเสริมสร้างความสมานฉันท์แห่งชาติ พ.ศ. 2550
9 แนวข้อสอบความเข้าใจด้านสิทธิมนุษยชน
10 เทคนิคการสอบสัมภาษณ์

**อ่านเข้าใจง่าย เข้าใจเร็ว ครบ ตรงประเด็น อัดแน่นด้วยคุณภาพ
รวมข้อสอบเก่าเด็ดๆ และข้อสอบที่ออกบ่อยๆ รวบรวมข้อสอบจากรุ่นพี่ที่สอบได้  จากสนามจริง**



สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 090-8134236     Line :topsheet1
-แบบไฟล์ PDF (ส่งทางเมลล์)สามารถนำไปปริ้นอ่านได้เลย ในราคาเพียงชุดละ 399 บาท 
-แบบหนังสือ+MP3 ส่งEMS (ทางไปรษณีย์) เป็นหนังสือ ราคา 799 บาท 

-แบบใช้ฟังผ่านอินเตอร์เน็ตผ่าน IPad IPhone มือถือ รถยนต์  ราคา 299 บาท
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 
619-2-17391-2 ธ.กสิกรไทย 
สาขา บิ๊กซี พระรามที่ 2 ประเภท ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี กฤษฎาพร เหมวันต์      

โอนเงินแล้วแจ้งที่ 

Line ID : topsheet1
E-mail :topsheet1@gmail.com


จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบปล



ตัวอย่างข้อสอบ
แนวข้อสอบ อำนาจหน้าที่และภารกิจของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
และสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐
1. เมื่อวันใดได้มีการประกาศบังคับใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพ.ศ. ๒๕๕๐
ก. วันที่ ๒๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
ข. วันที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
ค. วันที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
ง. วันที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
ตอบ ข. วันที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติตามรัฐธรรมนูญ๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐มีการประกาศใช้บังคับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้บัญญัติเกี่ยวกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติไว้ในมาตรา ๒๕๖ มาตรา ๒๕๗
2. รัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ ได้แบ่งองค์กรตามรัฐธรรมนูญออกเป็นกี่ประเภท
ก. แปดประเภท
ข. หกประเภท
ค. สี่ประเภท
ง. สองประเภท
ตอบ ง. สองประเภท
รัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ ได้แบ่งองค์กรตามรัฐธรรมนูญเป็น ๒ ประเภท ดังนี้
๑. องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ มี ๔ องค์กร ดังนี้
๑.๑ คณะกรรมการการเลือกตั้ง
๑.๒ ผู้ตรวจการแผ่นดิน
๑.๓ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
๑.๔ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
๒. องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ มี ๓ องค์กร ดังนี้
๒.๑ องค์กรอัยการ
๒.๒ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
๒.๓ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
รัฐธรรมนูญ ๒๕๔๐ มิได้กำหนดไว้อย่างชัดเจน
3. องค์กรใดต่อไปนี้คือองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
ก. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
ข. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
ค. คณะกรรมการการเลือกตั้ง
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
ดูคำอธิบายข้อข้างต้น
4. องค์กรใดต่อไปนี้คือองค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ
ก. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ข. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
ค. คณะกรรมการการเลือกตั้ง
ง. คณะกรรมการส่วนราชการ
ตอบ ก. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ดูคำอธิบายข้อข้างต้น
5. ผู้ใดต่อสู้หรือขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการต้องระวางโทษตามข้อใด
ก. ปรับไม่เกินสามหมื่นบาท
ข. ปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท
ค. จำคุกไม่เกินหนึ่งปี
ง. จำคุกไม่เกินสองปี
ตอบ ค. จำคุกไม่เกินหนึ่งปี
มาตรา ๓๕ ผู้ใดต่อสู้หรือขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา๓๒ (๒) ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
6. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ มีชื่อย่อว่าอย่งไร
ก. คกช.
ข. กสม.
ค. กมช.
ง. คกม.
ตอบ ข. กสม.
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ มีชื่อย่อว่า กสม.
7. จากเดิมคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีจำนวนคณะกรรมการทั้งหมด๑๑ คน ปัจจุบันได้มีการปรับให้เหลือเพียงเท่าใด
ก. ห้าคน
ข. เจ็ดคน
ค. เก้าคน
ง. สิบเอ็ดคน
ตอบ ข. เจ็ดคน
องค์ประกอบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ(กสม.)
กำหนดใคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีจำนวนลดลง จากเดิมที่มีรวมทั้งสิ้น ๑๑ คนให้เหลือเพียงเจ็ดคน ประกอบด้วยประธานกรรมการหนึ่งคน และกรรมการอื่นอีกหกคน
8. กระบวนการสรรหาและเลือกคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ(กสม.) ตามรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ แตกต่างจากรัฐธรรมนูญ ๒๕๔๐ ในขั้นตอนใด
ก. องค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหา
ข. วิธีการสรรหาและคัดเลือก
ค. จำนวนผู้ได้รับเลือกเพื่อเสนอชื่อให้วุฒิสภา
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
กระบวนการสรรหาและการเลือกคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ(กสม.) ตามรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ แตกต่างจากรัฐธรรมนูญ ๒๕๔๐ ทั้งในขั้นตอนของคณะกรรมการสรรหาคือองค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหา วิธีการสรรหาและคัดเลือก รวมทั้งจำนวนผู้ได้รับเลือกเพื่อเสนอชื่อให้วุฒิสภา และในขั้นตอนของวุฒิสภาจากเดิมที่ต้องมีมติเพื่อคัดเลือกผู้ได้รับการเสนอชื่อจากจำนวนยี่สิบสองคนให้เหลือสิบเอ็ดคน เป็นมีมติให้ความเห็นชอบผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อจากคณะกรรมการสรรหาจำนวนเจ็ดคน
9. บุคคลใดต่อไปนี้ที่สามารถเป็นคณะกรรมการสรรหากรรมการได้
ก. รองประธานศาลฎีกา
ข. รองประธานศาลปกครองสูงสุด
ค. อัยการสูงสุด
ง. ทนายความ
ตอบ ค. อัยการสูงสุด
คณะกรรมการสรรหากรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ มีจำนวนเจ็ดคน ประกอบด้วย
๑. ประธานศาลฎีกา
๒. ประธานศาลรัฐธรรมนูญ
๓. ประธานศาลปกครองสูงสุด
๔. ประธานสภาผู้แทนราษฎร
๕. ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
๖. บุคคลซึ่งที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาคัดเลือก จำนวนหนึ่งคน
๗. บุคคลซึ่งที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดคัดเลือก จำนวนหนึ่งคน
ทำหน้าที่สรรหาและคัดเลือกคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ(กสม.) จำนวนเจ็ดคน ด้วยมติที่มีการลงคะแนนโดยเปิดเผยและมีคะแนนไม่น้อยกว่าสองในสามของจำนวนกรรมการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ แล้วเสนอรายชื่อผู้ได้รับเลือกพร้อมความยินยอมของผู้นั้นต่อประธานวุฒิสภาเพื่อให้วุฒิสภามีมติให้ความเห็นชอบด้วยคะแนนเสียงข้างมากโดยวิธีลงคะแนนลับ
10. การพ้นจากตำแหน่งของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติคือข้อใด
ก. การลาออก
ข. ลาพักร้อนเกินกำหนด
ค. อายุครบเจ็ดสิบปีบริบูรณ์
ง. หยุดงานเกินสามวัน
ตอบ ค. อายุครบเจ็คสิบปีบริบูรณ์
การพ้นตำแหน่ง
นอกจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติจะพ้นจากตำแหน่งตามวาระและเหตุอื่นแล้ว รัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ได้กำหนดเพิ่มเติมให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติต้องพ้นจากตำแหน่งเมื่อมีอายุครบเจ็ดสิบปีบริบูรณ์ด้วย
****************************************************************************************************************************                                                                                                                                


ความรู้ทั่วไป


คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ประเทศไทย)
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (อังกฤษ: National Human Rights Commission) เป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการอื่นอีกสิบคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา จากผู้ซึ่งมีความรู้หรือประสบการณ์ด้านการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนเป็นที่ประจักษ์ ทั้งนี้ โดยต้องคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของผู้แทนจากองค์การเอกชนด้านสิทธิมนุษยชนด้วย

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีวาระการดำรงตำแหน่งหกปีนับแต่วันที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง และให้ดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว วาระละ 6 ปี โดยมีสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เป็นหน่วยงานข้าราชการฝ่ายรัฐสภาสามัญทำหน้าที่ปฏิบัติราชการภายใต้อำนาจหน้าที่
อำนาจหน้าที่
ตรวจสอบและรายงานการกระทำหรือการละเลยการกระทำอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรืออันไม่เป็นไปตามพันธกรณี ระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี และเสนอมาตรการการแก้ไขที่เหมาะสมต่อบุคคลหรือหน่วยงานที่กระทำ หรือละเลยการกระทำดังกล่าวเพื่อดำเนินการ ในกรณีที่ปรากฏว่าไม่มีการดำเนินการตามที่เสนอ ให้รายงานต่อรัฐสภาเพื่อดำเนินการต่อไป
เสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ต่อรัฐสภาและคณะรัฐมนตรีเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
ส่งเสริมการศึกษา การวิจัย และการเผยแพร่ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชน
ส่งเสริมความร่วมมือและการประสานงานระหว่างหน่วยราชการ องค์การเอกชน และองค์การอื่นในด้านสิทธิมนุษยชน
จัดทำรายงานประจำปีเพื่อประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน ภายในประเทศและเสนอต่อรัฐสภา
อำนาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ
ในการปฏิบัติหน้าที่ ต้องคำนึงถึงผลผระโยชน์ส่วนรวมของชาติและของประชาชนประกอบด้วย คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ มีอำนาจเรียกเอกสาร หรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องจากบุคคลใด หรือเรียกบุคคลใดมาให้ถ้อยคำ รวมทั้งมีอำนาจอื่นเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ชุดที่ 1 (พ.ศ. 2544-2552)
ศ.เสน่ห์ จามริก - ประธานกรรมการ
ผศ. จรัล ดิษฐาอภิชัย
คุณหญิงจันทนี สันตะบุตร
นางสาวนัยนา สุภาพึ่ง
ศ.เกียรติคุณ ประดิษฐ์ เจริญไทยทวี
นายวสันต์ พานิช
ผศ. ดร.สุทิน นพเกตุ
นางสุนี ไชยรส
นายสุรสีห์ โกศลนาวิน
คุณหญิงอัมพร มีศุข
นาวสาวอาภร วงษ์สังข์
ชุดที่ 2 (พ.ศ. 2552-2558)
ศ.กิตติคุณ ดร.อมรา พงศาพิชญ์ - ประธานกรรมการ
นพ. แท้จริง ศิริพานิช
นพ. นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ
นายปริญญา ศิริสารการ
นายไพบูลย์ วราหะไพฑูรย์
พลตำรวจเอก วันชัย ศรีนวลนัด
นางวิสา เบ็ญจะมโน
ชุดที่ 3 (พ.ศ. 2558 -ปัจจุบัน)
อาจารย์ วัส ติงสมิตร - ประธานกรรมการ
นาง ฉัตรสุดา จันทร์ดียิ่ง
นาง ประกายรัตน์ ต้นธีรวงศ์
นายแพทย์ สุรเชษฐ์ สถิตนิรามัย
นาง อังคณา นีละไพจิตร
นาง เตือนใจ ดีเทศน์
นาย ชาติชาย สุทธิกลม

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ประเทศไทย) - วิกิพีเดีย


กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
ความเป็นมาและความหมาย
เครื่องหมายราชการกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ เป็นภาพตราชูบนพระแท่นนังคศิลาภายในกรอบสี่เหลี่ยมจตุรัส มีอักษรบอกนามกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพอยู่เบื้องล่าง พระแท่นมนังคศิลานี้เป็นพระแท่นของพ่อขุนรามคำแหงสมัยสุโขทัย ทรงใช้ว่าราชการแก้ทุกข์ของไพร่ฟ้าประชาชนที่มีความเดือดร้อนข้องใจ เปรียบได้ดังภารกิจของกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพที่มีหน้าที่คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ และช่วยบำบัดทุกข์ของประชาชน ตามรอยพระจริยาในพ่อขุนรามคำแหงมหาราชแต่อดีตกาล
ประเทศไทยมีจุดมุ่งหมายสูงสุดในการพัฒนากระบวนการยุติธรรม คือ การสร้างความสบงสุขให้เกิดขึ้นในสังคม โดยการป้องกันแก้ไขปัญาหาอาชญากรรมการคุ้มครองความปลอดภัยในชีวิตละทรัย์สิน การป้องกันแก้ไขข้อพิพาทขัดแย้งการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนและสิทธิมนุษยชน ที่มุ่งถึงความสัมฤทธิ์ผลของความยุติธรรมบนพื้นฐานของมนุษยธรรม แต่เนื่องจากยังมีสภาพปัญหาหลายประการที่ขัดขวางมิให้ประชาชนได้มีโอกาสเข้าถึงความยุติธรรม เช่น
๑.การไม่มีความรู้ ความเข้าใจบทบัญญัติของกฏหมาย และสิทธิเสรีภาพที่พึงมีพึงได้โดยชอบธรรม ทำให้ประชาชนถูกเอารัดเอาเปรียบและล่วงละเมิลสิทธิจากบุคคลที่อยู่ในภาวะที่เหนือกว่า ดังนั้น ความยุตอธรรมที่เกิดขึ้นนั้นมิได้หมายถึงการหยิบยื่นให้จากรัฐแต่เพียงภายเดียว แต่ยังขึ้นอยู่กับความสามารถในการปกป้องคุ้มครองสิทธิเสรีภาพด้วยตัวเองของประชาชนเอง
๒.ความยากจนของประชาชนที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงความยุติธรรมเนื่องจากกระบวนการดำเนินคดีนั้น คู่ความจำเป็นที่จะต้องจัดจ้างทนายเพื่อต่อสู้คดีทำให้ประชาชนยากจนไม่สามารถดำเนินการได้
๓.ประชาชนผู้เสียหายจากอาชญากรรม และจากกระบวนการยุติธรรมเป็นผู้บริสุทธิ์ไม่ได้รับการช่วยเหลือเยียวยาตามหลักสิทธิมนุษยชนหรือละเลยต่อผู้เสียหายชึ่งประชาชนผู้เสียหายเล่านี้ต้องสูญเสียอิสรภาพในชิวิตร่างกายเกิดความพิการหรือสูญเสียชีวิต สร้างความเสียหายต่อสิทธิประโยชน์ที่พึงมีพึงได้
๔.กระบวนการยุติธรรม ขาดศักยภาพในการพัฒนาทางเลือกความยุติธรรมให้กับประชาชน กล่าวคือ แนวคิดดั้งเดิมความยุติธรรมเป็นสิ่งที่รัฐหยิบยื่นให้ประชาชนจากกระบวนการพิจารณาคดีเท่านั้น ส่งผลให้ประชาชนต้องสูญเสียโอกาสต่างๆ มากมาย สิ้นเปลืองเวลา ค่าใช้จ่าย สูญเสียอิสรภาพโดยมิควรและปิดกั้นโอกาสของผู้ยากจนไม่สามารถเข้าถึงความยุติธรรม
จากสถานการณ์ดังกล่าวจะพบว่า กระบวนการยุติธรรมยังไม่มีหน่วยงานกลางในการประสานงาน เพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนที่ไม่ได้รับความยุติธรรมหรือถูกล่วงละเมิดสิทธิ ด้วยการส่งต่อไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือช่วยบรรเทาปัญหาในเบื้องต้นทั้งในเชิงรุกและรับ จึงทำให้ประชาชนที่ถูกละเมิดสิทธิขาดที่พึ่งในการเข้าถึงความยุติธรรม ประกอบกับเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ต้องการให้มีการส่งเสริม คุ้มครองและสร้างหลักประกันให้กับประชาชนซึ่งรัฐบาลได้ตระหนักและเห็นความสำคัญ ปรกอบกับมีการปฏิรูประบบราชการใหม่จึงได้มีการจัดตั้งกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพขึ้น ภายใต้สังกัดกระทรวงยุติธรรมเมื่อวันที่ ตุลาคม 2545 ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 และใช้ชื่อภาษาอังกฤษของหน่วยงานว่าRIGHTS AND LIBERTIES PROTECTION DEPARTMENT มีชื่อย่อว่า RLPD ภายใต้วิสัยทัศน์ " เป็นองค์กรในการส่งเสริมคุ้มครองละสร้างหลักประกันสิทธิเสรีภาพและสิทธิมนุษยชนอย่างบูรณาการ และมี นวัตกรรมสูความเป็นสากล "

จาก : http://www.rlpd.go.th/










แนะนำการสอบ

คำแนะนำในการสอบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ( National Human Rights Commission) เป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการอื่นอีกสิบคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา จากผู้ซึ่งมีความรู้หรือประสบการณ์ด้านการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนเป็นที่ประจักษ์ ทั้งนี้ โดยต้องคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของผู้แทนจากองค์การเอกชนด้านสิทธิมนุษยชนด้วย
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีวาระการดำรงตำแหน่งหกปีนับแต่วันที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง และให้ดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว วาระละ 6 ปี โดยมีสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เป็นหน่วยงานข้าราชการฝ่ายรัฐสภาสามัญทำหน้าที่ปฏิบัติราชการภายใต้อำนาจหน้าที่
ในการสอบเข้าสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ผู้สมัครจะต้องเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) ของสำนักงาน ก.พ.  ก่อน  และจะต้องสอบผ่านข้อเขียนก่อนจึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง โดยวิธีการสอบสัมภาษณ์  ทั้งนี้จะต้องได้คะแนนสอบข้อเขียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ  60  แต่ถ้าสอบเป็นพนักงานราชการไม่ต้องใช้ใบสอบผ่านภาค  ก ของ ก.พ.
การเตรียมตัวสอบ
ในส่วนการสอบวิชาเฉพาะตำแหน่ง ควรอ่านให้มากๆ ศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับวิชาตำแหน่งให้ดี ข้อสอบจะเป็นระเบียบข้อกฏหมาย วิชากฎหมายก็อ่านฉบับเต็ม  ท่องให้ได้ทุกมาตราอย่าไปอ่านเเต่ช้อย มันไม่ตรงนัก  ฝึกลองวิเคราะห์ข้อสอบ หาปากกาเน้นข้อความมาขีดเพื่อจำง่าย แล้วสรุป หรือท่องให้ได้  ฝึกทำข้อสอบเก่า  โดยเฉพาะในเรื่องที่เป็นจุดบกพร่องของเราทำซ้ำๆจนเข้าใจ
ควรอ่านเนื้อหาที่จะออกสอบในประกาศ และดูเวลาว่าเหลือเวลากี่วันที่จะต้องสอบ และนำเนื้อหาการสอบมาทำความเข้าใจว่าแต่ละเรื่องเกี่ยวข้องกับอะไรบ้าง  ค้นหาเนื้อหาแต่ละเนื้อหารวบรวมทุกสิ่งอย่างที่คิดว่าเกี่ยวข้องและจำเป็น แล้วแยกใส่ในแฟ้มงานเป็นหมวดๆ เมื่อได้เนื้อหาครบหมดแล้ววิเคราะห์ว่าแต่ละเนื้อหาใช้เวลาในการอ่านเท่าไหร่ แล้วนำผลรวมออกมาเทียบกับเวลาที่เรามีในการเตรียมตัวสอบ จากนั้นนำเวลามาถัวเฉลี่ย ให้ความหนักเบากับวิชาที่จะสอบ ว่าวิชาไหนเรื่องไหนใช้เวลาเท่าไหร่  แล้วจัดทำตารางการอ่านหนังสือเป็นช่วงเวลาอาจจะแบ่งเป็นต่อสัปดาห์ หรือ 2 สัปดาห์ แล้วนำมาแปะไว้ที่ไหนก็ได้ที่เราสังเกตเห็นได้ชัด  ในการอ่านแต่ละวิชาควรอ่านอย่างน้อย 2 รอบ รอบแรกเป็นการอ่านรวมๆ เพื่อหาว่าจุดไหนสำคัญบ้างให้นำปากกาเน้นคำ Mark ไว้ รอบที่สอง จดบันทึกสิ่งที่เรา Mark ไว้ สรุปเป็นภาษาของเราเองเพื่อเอาไว้อ่านก่อนสอบ 1 วัน  และก่อนนอนนั่งสมาธิอย่างน้อย 5 นาที สวดมนต์ด้วยก็ยิ่งดี   นอกจากนี้ควรศึกษาเส้นทางการสอบ ห้องสอบให้ดี พอถึงสนามสอบให้ตรวจดูห้องสอบหรือนั่งหน้าห้องสอบรอเลยก็ได้ เพื่อป้องกันความกังวลใจ หรือเรื่องรบกวนใจ  เมื่อใกล้จะสอบควรงดการพูดจาเรื่อยเปื่อย คุยสนุกเรื่องอื่น กับเพื่อนที่ร่วมสอบ หรือใครก็ตามอย่างน้อย 1 ชั่วโมง เพื่อป้องกันสมองไปจำอย่างอื่น ให้คิดแต่เรื่องสอบอย่างเดียว
นอกจากนี้ควรหาความรู้เกี่ยวกับหน่วยงานด้วย  เช่น ประวัติ วิสัยทัศน์  พันธกิจ ค่านิยม ผู้บริหาร หน้าที่ความรับผิดชอบ  โดยการหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต  และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเมือง เศรษฐกิจ สังคม  
นอกจากวิชาการที่ต้องใช้ตามวุฒิที่จะรับแล้ว ยังต้องทำการบ้านด้วยว่าหน่วยงานนั้นมีการแบ่งองค์กรยังไง ผู้บริหารเป็นใครในแต่ละระดับ แต่ละส่วนขององค์กรทำงานอะไร มีหน้าที่อะไร ตำแหน่งที่เราจะบรรจุมีหน้าที่อะไร ไปที่หน่วยงานนั้น ถ้ามีห้องสมุดหรือเอกสารเผยแพร่ควรไปอ่านให้หมด ปัจจุบันมีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานหรือตำแหน่งที่จะทำหรือไม่ อย่างไร
ส่วนในการสอบสัมภาษณ์เป็นการสอบด้วยการสนทนาหรือพูดคุยกัน ดังนั้นผู้เข้าสอบควรจะทบทวนเตรียมความรู้หรือข้อมูลในส่วนที่เป็นวิชาการหรือเนื้อหาต่าง ๆ   ที่ได้เตรียมไว้แล้วในการเตรียมตัวเข้าสอบข้อเขียน   ซึ่งอาจจะใช้เวลาครั้งละ 10 – 30 นาที   แล้วแต่กรณี หรืออาจกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า การเตรียมตัวเข้ารับการสอบสัมภาษณ์จำเป็นต้องทบทวนความรู้ และข้อมูลบางประการมิใช่เข้าสอบโดยมิได้ทบทวนความรู้หรือข้อมูลอะไรเลย  การสัมภาษณ์เป็นการพูดคุยกัน  ไม่ต้องเครียด ต้องแสดงความจริงใจ อย่าเสแสร้ง กรรมการจะดูกริยา ลักษณะการพูดจาเป็นว่าเป็นอย่างไรบ้าง เนียมไม่เนียม  สำคัญจุดแรกที่กรรมการจะพิจารณาคือการแต่งกายของผู้เข้าสัมภาษณ์ ดูดี สะอาด ผมรัดผูกให้สวยงาม แต่งหน้าแต่พองาม  พูดให้เป็นธรรมชาติที่สุด  อย่าพาใครไปเป็นเพื่อน
ในการสัมภาษณ์ควรทำใจให้สบาย ตอบคำถามแบบธรรมขาติ เป็นตัวของตัวเอง  โดยส่วนใหญ่กรรมการจะถามคำถามต่อไปนี้ คือ 1. ให้แนะนำตัวเอง   2.เหตุผลในการตัดสินใจเข้ารับราชการ   3. เล่าถึงประสบการณ์ในการทำงาน
เมื่อมาถึงก็ให้เราแนะนำตัวเองก่อนเลย,ประทับใจอะไรปปช.เป็นพิเศษไหม,ความเห็นคิดของเราว่าสื้อมวลชนติว่าปปช.ทำงานช้า ถ้าเราเข้ามาทำงานในนี้จะแก้ไขปัญหาอะไรหรือทำอย่างไร,แล้วก็ปปช.แบ่งงานเป็นกี่สายงานอะไรบ้างประมาณนี้ละคะ เราทำแปปเดียวแต่คนก่อนหน้าเราถามนานมากๆๆๆ รอจนเ+++่ยวใจเลยคะ โชคดีทุกคนนะคะ


วิชาที่ใช้สอบ มีดังนี้คือ
1. ความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง  ( 200  คะแนน )
- ความรู้เกี่ยวกับสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
- กฎหมายที่เกี่ยวข้อง  เช่น  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557   สิทธิเสรีภาพของประชาชนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย    ประกาศ คสช เกี่ยวกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ   ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภาว่าด้วยพนักงานราชการ 2548
- ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน
- ข่าว สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและเหตุการณ์ปัจจุบัน

2. ความเหมาะสมกับตำแหน่ง  ( 100  คะแนน )  เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตําแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์หรือวิธีอื่นเพื่อประเมินความเหมาะสมกับตําแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา  ประวัติการทํางานประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติการปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขันเพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จําเป็นสําหรับตําแหน่ง
ทั้งนี้ กําหนดให้ผู้สมัครสอบ ต้องสอบความรู้ความสามารถเฉพาะตําแหน่งก่อนผ่านก่อน โดยมีคะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ  60  จึงจะมีสิทธิเข้าสอบภาคความเหมาะสมกับตําแหน่ง
3. ความเหมาะสมกับตำแหน่ง  (ภาค  ค )  ( 100  คะแนน )  เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตําแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์หรือวิธีอื่นเพื่อประเมินความเหมาะสมกับตําแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา  ประวัติการทํางานประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติการปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขันเพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จําเป็นสําหรับตําแหน่ง
ทั้งนี้ กําหนดให้ผู้สมัครสอบ ต้องสอบความรู้ความสามารถเฉพาะตําแหน่งก่อนผ่านก่อน โดยมีคะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ  60  จึงจะมีสิทธิเข้าสอบภาคความเหมาะสมกับตําแหน่ง

รายละเอียดวิชาที่สอบ
1 ความรู้เกี่ยวกับ-สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน-แห่งชาติ
2 แนวข้อสอบการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำนักงาน
3 ความสามารถทางด้านการคิดคำนวณแนวข้อสอบ
4 วิชาสามารถทั่วไปความสามารถด้านภาษา
5 เทคนิคการสอบสัมภาษณ์

ตำแหน่งที่สอบ
นักวิชาการสิทธิมนุษยชน
เจ้าหน้าที่สิทธิมนุษยชน
นักจัดการงานทั่วไป
นิติกร